บันทึกอนุทิน
วันอังคาร ที่ 25 กันยายน พ.ศ.2557
วันนี้เราเรียนเรื่อง
แนวทางในการจัดประสบการณ์ทางภาษา
1.เป็นสิ่งที่สะท้อนปรัชญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
2. นำไปสู่การกำหนดกระบวนการที่ใช้อย่างแตกต่างกัน
สรุป
วันนี้เราเรียนเรื่อง
แนวทางในการจัดประสบการณ์ทางภาษา
1.เป็นสิ่งที่สะท้อนปรัชญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
2. นำไปสู่การกำหนดกระบวนการที่ใช้อย่างแตกต่างกัน
Richard and Rodger (1995) ได้แบ่งมุมมองต่อภาษาในการจัดประสบการณ์เป็น 3 กลุ่ม คือ
1.มุมมองด้านโครงสร้างของภาษา
- นำองค์ประกอบย่อยของภาษามาใช้ในการสื่อสารความหมาย
- เสียง ไวยากรณ์ การประกอบคำเป็นวลีหรือประโยค
2.มุมมองด้านหน้าที่ของภาษา
- เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือสำหรับสื่อความหมาย
- การจัดประสบการณ์เน้นการสื่อความหมาย
- ไม่ได้ละทิ้งแบบแผนหรือไวยากรณ์
3.มุมมองด้านปฏิสัมพันธ์
- เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม
- การแลกเปลี่ยนประสบการณ์
- เด็กมีปฏิสัมพันธ์ผ่านการใช้ภาษา
>> ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย <<
>> สนใจ อยากรู้ สงสัย เลียนแบบ <<
>> สนใจ อยากรู้ สงสัย เลียนแบบ <<
การจัดประสบการณ์ทางภาษาที่เน้นทักษะทางภาษา ( Skill Approch)
ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย
1. สนใจ อยากรู้อยากเห็นสิ่งรอบๆตัว
2. ช่างสงสัย ช่างซักถาม
3. มีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
4. ชอบเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
5. เลียนแบบคนรอบข้าง
Kenneth Goodman
1. เสนอแนวทางการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
2. มีความเชื่อมโยงระหว่างภาษากับความคิด
3. แนวทางการสอบมีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้และธรรมชาติของเด็ก
หลักของการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
1 .การจัดสภาพแวดล้อม
2.การสื่อสารที่มีความหมาย
3.การเป็นแบบอย่าง
4.การตั้งความหวัง
5.การคาดคะเน
6.การใช้ข้อมูลย้อนกลับ
7.การยอมรับนับถือ
8.การสร้างความรู้สึกเชื่อมั่น
บทบาทของครู
1. ครูคาดหวังกับเด็กแต่ละคนแตกต่างกัน
2. ใช้ประสบการณ์ตรงในการสนับสนุนการอ่าน การเขียน
3. ครูควรยอมรับกับความไม่ถูกต้องครบถ้วนของเด็ก
4. ครูสร้างความสนใจในคำและสิ่งพิมพ์
1. เสนอแนวทางการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
2. มีความเชื่อมโยงระหว่างภาษากับความคิด
3. แนวทางการสอบมีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้และธรรมชาติของเด็ก
การสอนภาษาธรรมชาติ ( Whole Language)
1. สอนแบบบูรณาการ/องค์รวม
2. สอนในสิ่งที่เด็กสนใจและมีความหมายสำหรับเด็ก
3. สอนสิ่งที่ใกล้ตัวเด็กและอยู่ในชีวิตประจำวัน
4. สอดแทรกการฝึกทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียนไปพร้อมกับการทำกิจกรรม
5. ไม่เข้มงวดกับการท่อง สะกด
6. ไม่บังคับให้เด็กเขียน
หลักของการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
1 .การจัดสภาพแวดล้อม
2.การสื่อสารที่มีความหมาย
3.การเป็นแบบอย่าง
4.การตั้งความหวัง
5.การคาดคะเน
6.การใช้ข้อมูลย้อนกลับ
7.การยอมรับนับถือ
8.การสร้างความรู้สึกเชื่อมั่น
บทบาทของครู
1. ครูคาดหวังกับเด็กแต่ละคนแตกต่างกัน
2. ใช้ประสบการณ์ตรงในการสนับสนุนการอ่าน การเขียน
3. ครูควรยอมรับกับความไม่ถูกต้องครบถ้วนของเด็ก
4. ครูสร้างความสนใจในคำและสิ่งพิมพ์
ภาพบรรยากาศในการเรียนการสอน
กิจกรรม
สรุป
ธรรมชาติของเด็กปฐมวัยเป็นวัยที่สนใจ อยากรู้เอยากเห็น ชอบเลียนแบบคนรอบข้าง การสอนภาษาแบบธรรมชาติ เป็นการเรียนภาษาแบบองค์รวม/ บูรณาการ เด็กจะเรียนรู้ภาษาจากประสบการณ์ และการกระทำ ารสอนภาษาแบบธรรมชาติ จะต้องมีการจัดสภาพแวดล้อม การสื่อสารที่มีความหมาย การเป็นแบบอย่าง การตั้งความหวัง การคาดคะเน การใช้ข้อมูลย้อนกลับ การยอมรับนับถือ และสร้างความรู้สึกเชื่อมั่น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น